Mpox คือ โรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส Monkeypox เชื้อไวรัสชนิดนี้มีรังโรคอยู่ในสัตว์ตระกูลลิง และสัตว์ฟันแทะอื่นๆ เช่น กระรอกดิน
1. การติดต่อ
ติดจากสัตว์สู่คน : การถูกกัดหรือข่วน เลือด สารคัดหลั่งตุ่มหนองของสัตว์, การนำซากสัตว์ป่วยมาปรุงอาหาร
ติดจากคนสู่คน : ละอองฝอยทางการหายใจในระยะใกล้การสัมผัสเลือด สารคัดหลัง และรอยโรคที่ผิวหนังของผู้ป่วย
การสัมผัสของใช้ส่วนตัวที่ปนเปื้อนสารคัดหลัง (หลั่งได้รับเชื้อโรคนี้มีระยะฟักตัว 5 – 21 วัน)
“ข้อแตกต่างระหว่างฝีดาษลิง (Mpox) และฝีดาษ” คือในฝีดาษจะมีอาการรุนแรงกว่า ปัจจุบันองค์การอนามัยโลกประกาศว่ากำจัดฝีดาษได้แล้ว แต่ในกรณี Mpoxเคยมีประกาศ PHEIC (องค์การอนามัยโลกได้ประกาศภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข) รอบแรกเดือน กรกฎาคม 2565 และพบว่าการระบาดโรคนี้มีการเชื่อมโยงกับการมีเพศสัมพันธ์
ซึ่งเมื่อวันที่14 สิงหาคม 2567 ได้มีการประกาศ PHEIC เป็นรอบที่2 เนื่องจากปัจจุบันมีการระบาดมากในแอฟริกา โดยเฉพาะในสาธารณะรัฐประชาธิปไตยคองโก (DRC) รองจากอัฟริกาพบการระบาดในทวีปอเมริกาตามด้วยยุโรป
2. อาการ
– ไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อปวดศีรษะ
– อ่อนเพลีย และมีต่อมน้ำเหลืองโต
– อาการทางผิวหนัง เกิดหลังไข้ลดลงเริ่มมีผื่นเจ็บจำนวนมากที่มักเกิดบริเวณใบหน้าและแขนและขา
– มีการเปลี่ยนแปลง เป็นตุ่มหนอง จะตกสะเก็ดในภายหลังและอาจจะมีแผลเป็นตามมาได้
3. การวินิจฉัย
วินิจฉัยจากประวัติ และอาการ ตรวจยืนยันทางห้องปฏิบัติการด้วย PCR โดยใช้สารคัดหลั่งจากตุ่มน้ำที่ผิวหนัง
4. การรักษา
ส่วนใหญ่ใช้ยาตามอาการและใช้ยาต้านไวรัสในกลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยส่วนใหญ่สามารถหายเองได้ แต่ก็พบว่ามีรายงานการเสียชีวิตจากโรคนี้ได้ โดยกลุ่มที่เสี่ยงมากสุดคือ กลุ่มเด็กเล็ก” อัตราการเสียชีวิตประมาณ1ใน500คนที่ติดเชื้อ
โรคฝีดาษลิง สามารถเฝ้าระวังได้ง่าย เพราะผู้ป่วยติดเชื้อมักจะมีตุ่มขึ้นตามร่างกายเป็นรอยโรคที่สังเกตได้ชัดเจน
5. การป้องกัน
– เสี่ยงสัมผัสโดยตรง ถูกกัดหรือข่วน เลือด สารคัดหลั่ง ตุ่มหนองของสัตว์ป่วย
– รับประทานเนื้อสัตว์ปรุงสุก
– ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่ / แอลกอฮอล์เจล
– หลีกเลียงการสัมผัสสัตว์ป่าทีมาจากพื้นที่เสียง หรือสัตว์ป่าป่วย
– หากพบบุคคลที่มีอาการเข้าข่าย และมาจากพื้นที่เสียงให้หลีกเลี่ยงการสำผัสและรีบแจ้งหน่วยงานของรัฐ
บทความโดย: นายแพทย์ ชลทรัพย์ แชมาร์ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
แพ็กเกจแนะนำ
Promotion ตรวจมะเร็งเต้านม ด้วย Digital Mammogram
แพ็กเกจวัคซีนป้องกันไวรัส RSV สำหรับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
กิจกรรมคลอดคุณแม่คุณภาพ ประจำปี 2567
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพประจำปี 2567
แพ็กเกจ ตรวจหัวใจ คนไทยและต่างชาติ
บริการทันตกรรมสิทธิ์ประกันสังคม (ไม่ต้องสำรองจ่าย)
แพ็กเกจ ตรวจการนอนกรน Sleep Test
แพ็กเกจ ตรวจ อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง Abdomen Ultrasound
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ Birthday Privileges
แพ็กเกจตรวจ Covid-19 และไข้หวัดใหญ่ แบบ RT-PCR
แพ็กเกจ ฝากครรภ์คุณภาพ
แพ็กเกจ โปรแกรม ฝังเข็ม ระงับปวด Office Syndrome
แพ็กเกจ ตรวจฟัน เคลือบฟลูออไรด์ สำหรับเด็ก
แพ็กเกจ ฉีดสีท่อนำไข่ Hysterosalpingography
แพ็กเกจ IUI ฉีดน้ำเชื้อเข้าโพรงมดลูก
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนมีบุตร
แพ็กเกจ ตรวจไข้เลือดออก
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก
แพ็กเกจ ตรวจมะเร็งเต้านม ด้วย Digital Mammogram
แพ็กเกจ โปรแกรมฝากไข่ Oocyte Freezing
บทความสุขภาพอื่นๆ
9 โรค พบบ่อยในผู้สูงอายุ ที่ควรรู้ เพื่อป้องกันไว้ก่อนดีกว่าแก้
“ก้มเล่นมือถือ” เป็นเวลานาน พฤติกรรมเสี่ยงกระดูกคอเสื่อม
โรคไข้หวัดใหญ่คืออะไร?
การสวนหัวใจและหลอดเลือด
คลอดธรรมชาติ กับ ผ่าคลอด แบบไหนดีกว่ากัน ?
การตรวจคราบหินปูนในหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery calcium scoring) คืออะไร ?
มวลกระดูกคืออะไร ทำไมต้องตรวจ ?
โรคฝีดาษลิง หรือ Mpox โรคอุบัติใหม่ที่ไม่ควรมองข้าม
ตรวจสุขภาพร่างกายประจำปีสำคัญอย่างไร
พฤติกรรมแบบไหน…เสี่ยง! เป็นโรคตับ
“โรคอ้วนในเด็ก” ความน่ารักที่แฝงด้วยอันตราย‼
มะเร็งปอดใกล้ตัวกว่าที่คิด มาทำความรู้จักกับโรคมะเร็งปอด
ตรวจการนอนหลับ (Sleep Test)
วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ ป้องกันได้มากว่าปอดอักเสบ
การผ่าตัดโดยใช้กล้องส่องข้อเข่า เทคโนโลยีทันสมัย (Arthroscopic Surgery)
แนวทางการรักษาโรคมะเร็งเต้านมในปัจจุบัน
กระดูกสันหลังเสื่อมทรุด ส่งผลร้ายต่อกันดำเนินชีวิต
ตรวจสุขภาพร่างกายประจำปีสำคัญอย่างไร
ท้องตอนอายุมาก เสี่ยงอย่างไร
วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ ป้องกันได้มากกว่าปอดอักเสบ (Pneumococcal vaccine)
VDO ความรู้สุขภาพ
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.19 อาการปวดหัวช่วงตั้งครรภ์…แก้อย่างไรดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.18 ตั้งครรภ์ 5 สัปดาห์ สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้มั้ย?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.17 ลูกในครรภ์น้ำหนักตกเกณฑ์ กังวลมากเลย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.16 คุณแม่ตั้งครรภ์ท้องผูกมาก แก้ยังไงดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.15 ใครเสี่ยงบ้าง? ภาวะครรภ์เป็นพิษขณะตั้งครรภ์
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.14 ฟิต&เฟิร์ม สไตล์คุณแม่มือใหม่
คำแนะนำสำหรับการให้นมแม่ในทารกที่ได้รับการวินิจฉัย “แพ้” นมวัว
การผ่าตัดส่องกล้องข้อเข่า ข้อไหล่ ดีอย่างไร?
การตรวจวิเคราะห์แรงกดใต้ฝ่าเท้า คืออะไร?
ดูแลลูกอย่างไร? เมื่อเป็นไข้หวัดหน้าร้อน
ฉีดสีท่อนำไข่ แก้ปัญหามีบุตรยาก มีขั้นตอนและการเตรียมตัวอย่างไร?
กระดูกสันหลังเสื่อม-ทรุด ส่งผลร้ายต่อการดำเนินชีวิต
งูสวัด ลดความรุนแรงและโอกาสเกิดซ้ำได้ ด้วยการฉีดวัคซีน
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.13 ไอโอดีน สำคัญกับหญิงตั้งครรภ์อย่างไร?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.12 เครื่องฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ จำเป็นไหม?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.11 วัคซีนก่อนตั้งครรภ์สำคัญไม่น้อย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.10 ตั้งใจมีลูกแฝด ดีหรือไม่?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.9 ทำไมคุณแม่ตั้งครรภ์ถึงชอบท้องผูก
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.8 ท้องแข็งแบบต่างๆแยกแบบใด แบบไหนลูกโก่งตัว แบบไหนมดลูกบีบ แบบไหนใกล้คลอด
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.7 คนท้องนอนท่าไหน ไม่ทับลูกไม่ปวดเอว
บทความโดย
นายแพทย์ ชลทรัพย์ แชมาร์
แพทย์ผู้ชำนาญการด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว โรงพยาบาลเกษมราษฎร์อินเตอร์ เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม/นัดหมาย
แผนกตรวจสุขภาพ ชั้น 2
โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
โทร.02-594-0020 ต่อ 1276 , 1277