ไข้อีดำอีแดง (Scarlet fever) เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากแบคทีเรียกลุ่ม Streptococcus pyogenes หรือที่เรียกว่า Group A Streptococcus (GAS) โดยการติดเชื้อที่คอทำให้เกิดโรคคออักเสบ หากไม่ได้รับการรักษา อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ไข้รูมาติก หรือโรคไตอักเสบจากเชื้อสเตรปโตคอกคัส (Post-streptococcal glomerulonephritis) ได้
อาการของไข้อีดำอีแดง
อาการมักเริ่มภายใน 2-5 วัน หลังจากได้รับเชื้อ โดยมีอาการสำคัญดังนี้:
- มีไข้สูง หนาวสั่น
- เจ็บคอมาก คอแดง และต่อมทอนซิลบวม อาจมีต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
- ผื่นแดงคล้ายกระดาษทราย (Sandpaper rash) เริ่มจากลำคอและหน้าอก แล้วลามไปทั่วร่างกาย
- ลิ้นแดงสดคล้ายสตรอว์เบอร์รี (Strawberry tongue)
- ผิวหนังลอกบริเวณปลายนิ้วมือและนิ้วเท้าในช่วงฟื้นตัว
กลุ่มเสี่ยงสำหรับโรคไข้อีดำอีแดง (Scarlet fever)
- เด็กอายุ 5 – 15 ปี (พบมากที่สุดในเด็กวัยเรียน)
- ผู้ที่มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยไข้ดำแดง
- ผู้ที่อาศัยอยู่ในสถานที่แออัด เช่น โรงเรียน หอพัก หรือค่ายทหาร
- ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำหรือมีโรคเรื้อรัง(เช่นโรคไตเรื้อรัง เป็นต้น)
การติดต่อของไข้อีดำอีแดง
ไข้อีดำอีแดง (Scarlet fever) เป็นโรคที่ติดต่อได้ง่ายผ่านละอองฝอยที่ออกมาจากการไอหรือจามของผู้ป่วย นอกจากนี้ยังสามารถติดต่อได้จากการสัมผัสสารคัดหลั่ง เช่น น้ำมูก น้ำลาย หรือการใช้สิ่งของร่วมกันได้
การรักษา
- การรักษาหลักของโรคไข้สการ์เลตคือการให้ยาปฏิชีวนะกลุ่มเพนิซิลลิน หรือ อะม็อกซิซิลลิน เป็นระยะเวลา 10 วัน เพื่อลดอาการและป้องกันภาวะแทรกซ้อน หากผู้ป่วยแพ้เพนิซิลลิน อาจใช้ยาในกลุ่มมาโครไลด์ (เช่น อะซิโธรมัยซิน) แทนได้
- การดูแลเพิ่มเติม:
- ดื่มน้ำมาก ๆ และพักผ่อนให้เพียงพอ
- ใช้ยาลดไข้และยาแก้ปวด เช่น พาราเซตามอล
- กลั้วคอด้วยน้ำเกลือเพื่อลดอาการเจ็บคอ
แนวทางการป้องกัน
- หลีกเลี่ยงการใช้สิ่งของร่วมกัน ไม่ควรใช้แก้วน้ำ จาน ชาม หรือของใช้ส่วนตัวอื่นๆ ร่วมกับผู้อื่น
- ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่และน้ำสะอาด โดยเฉพาะหลังจากสัมผัสสารคัดหลั่งหรือสิ่งของที่อาจปนเปื้อนเชื้อ
- การใส่หน้ากากอนามัย ช่วยป้องกันการแพร่เชื้อจากละอองฝอยของผู้ป่วย
- ดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอ ดัวยการรับประทานอาหารที่ประโยชน์ครบ 5 หมู่ และนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
- หากมีอาการสงสัยว่าติดเชื้อ ควรพบแพทย์เพื่อรับการวินิจฉัยและการรักษาที่เหมาะสม
บทความโดย นพ.ฐากูร วิริยะชัย กุมารแพทย์ผู้ชำนาญการโรคติดเชื้อในเด็ก โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
แพ็กเกจแนะนำ
โปรแกรม ตรวจสุขภาพสตรี 🎀 Healthy Lady
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพประจำปี 2568
กิจกรรมคลอดคุณแม่คุณภาพ ประจำปี 2568
บริการทันตกรรมสิทธิ์ประกันสังคม (ไม่ต้องสำรองจ่าย)
แพ็กเกจ ฝากครรภ์คุณภาพ
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Platinum Plus Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Platinum Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Diamond Plus Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Diamond Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Gold Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Silver Check up 2568
แพ็กเกจวัคซีน RSV สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์
ฟอกไต บริการอุ่นใจ❤️ ทุกสิทธิการรักษา
แพ็กเกจ วัคซีนปอดอักเสบ IPD 20 สายพันธุ์ (สำหรับเด็ก)
แพ็กเกจ วัคซีนปอดอักเสบ 20 สายพันธุ์ (สำหรับผู้ใหญ่)
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพก่อนอุปสมบท
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันไวรัส RSV สำหรับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
แพ็กเกจ ตรวจการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ 23 สายพันธุ์
แพ็กเกจ ตรวจหัวใจ คนไทยและต่างชาติ
แพ็กเกจ ตรวจการนอนหลับ Sleep Test
บทความสุขภาพอื่นๆ
ทำความรู้จัก ไข้อีดำอีแดง (Scarlet fever)
โรคไข้เลือดออก เดงกี : อาการ การป้องกัน และวัคซีน
ภาวะมีบุตรยาก : สาเหตุ อาการ และทางเลือกในการรักษา
มะเร็งรังไข่ : การตรวจคัดกรอง การรักษา และการผ่าตัด
นิ่วในถุงน้ำดี : สาเหตุ, อาการ และการรักษา
ปวดท้อง “ผู้หญิง” แบบไหนที่ควรมาพบแพทย์?
พฤติกรรมแบบไหน เสี่ยงโรคไต ?
ภาวะตัวเหลืองในทารก
มะเร็งที่พบบ่อย ในคนไทย
ตรวจสุขภาพประจำปี ดีอย่างไร?
โรต้าไวรัส ภัยร้ายใกล้ตัวเด็กที่ต้องเฝ้าระวัง
กระดูกสันหลังเสื่อม ทรุด ส่งผลร้าย ต่อการดำเนินชีวิต
วัคซีนสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ที่ควรฉีด (ผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีอายุ >65ปีขึ้นไป)
รู้จัก โรค RSV ภัยร้าย ที่ผู้สูงอายุไม่ควรมองข้าม
9 โรค พบบ่อยในผู้สูงอายุ ที่ควรรู้ เพื่อป้องกันไว้ก่อนดีกว่าแก้
“ก้มเล่นมือถือ” เป็นเวลานาน พฤติกรรมเสี่ยง กระดูกคอเสื่อม
โรคไข้หวัดใหญ่ คืออะไร?
การสวนหัวใจ และหลอดเลือด
คลอดธรรมชาติ กับ ผ่าคลอด แบบไหนดีกว่ากัน ?
การตรวจคราบหินปูนในหลอดเลือดหัวใจ คืออะไร ?
VDO ความรู้สุขภาพ
ความแตกต่างของ hMPV และ RSV
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – EP.20 โฟลิก สารอาหารที่สำคัญสำหรับคนท้อง
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.19 อาการปวดหัวช่วงตั้งครรภ์…แก้อย่างไรดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.18 ตั้งครรภ์ 5 สัปดาห์ สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้มั้ย?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.17 ลูกในครรภ์น้ำหนักตกเกณฑ์ กังวลมากเลย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.16 คุณแม่ตั้งครรภ์ท้องผูกมาก แก้ยังไงดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.15 ใครเสี่ยงบ้าง? ภาวะครรภ์เป็นพิษขณะตั้งครรภ์
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.14 ฟิต&เฟิร์ม สไตล์คุณแม่มือใหม่
คำแนะนำสำหรับการให้นมแม่ในทารกที่ได้รับการวินิจฉัย “แพ้” นมวัว
การผ่าตัดส่องกล้องข้อเข่า ข้อไหล่ ดีอย่างไร?
การตรวจวิเคราะห์แรงกดใต้ฝ่าเท้า คืออะไร?
ดูแลลูกอย่างไร? เมื่อเป็นไข้หวัดหน้าร้อน
ฉีดสีท่อนำไข่ แก้ปัญหามีบุตรยาก มีขั้นตอนและการเตรียมตัวอย่างไร?
กระดูกสันหลังเสื่อม-ทรุด ส่งผลร้ายต่อการดำเนินชีวิต
งูสวัด ลดความรุนแรงและโอกาสเกิดซ้ำได้ ด้วยการฉีดวัคซีน
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.13 ไอโอดีน สำคัญกับหญิงตั้งครรภ์อย่างไร?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.12 เครื่องฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ จำเป็นไหม?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.11 วัคซีนก่อนตั้งครรภ์สำคัญไม่น้อย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.10 ตั้งใจมีลูกแฝด ดีหรือไม่?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.9 ทำไมคุณแม่ตั้งครรภ์ถึงชอบท้องผูก
บทความโดย
นายแพทย์ ฐากูร วิริยะชัย
กุมารแพทย์ผู้ชำนาญการโรคติดเชื้อในเด็ก โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม/นัดหมาย
แผนกกุมารเวช ชั้น 3
โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
โทร. 02-594-0020 ต่อ 1310 , 1311