ภาวะตัวเหลืองในทารก (Neonatal Jaundice) เป็นอาการที่พบได้บ่อยในเด็กแรกเกิด โดยเฉพาะในช่วง 1-2 สัปดาห์แรกของชีวิต อาการนี้เกิดจากการสะสมของสารบิลิรูบิน (Bilirubin) ในกระแสเลือด ซึ่งเป็นผลพลอยได้จากการสลายตัวของเซลล์เม็ดเลือดแดง
ภาวะตัวเหลืองในทารก มีสาเหตุจากอะไร
- ตัวเหลืองที่เกิดจากธรรมชาติ (Physiological Jaundice): เกิดจากระบบการทำงานของตับที่ยังไม่สมบูรณ์ในทารกแรกเกิด ทำให้ร่างกายไม่สามารถกำจัดบิลิรูบินได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ตัวเหลืองที่เกิดจากโรค (Pathological Jaundice): มีสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับโรค เช่น การติดเชื้อในกระแสเลือด โรคตับ หรือความผิดปกติของเม็ดเลือดแดงและการไม่เข้ากันของหมู่เลือดระหว่างมารดาและทารก (เกิดขึ้นเฉพาะมารดาหมู่เลือด O และทารกหมู่เลือดอื่น หรือ Rh ที่ไม่เข้ากัน)
อาการที่พบได้
- ผิวหนังและตาขาวมีสีเหลือง โดยเริ่มจากใบหน้าและค่อย ๆ ลามไปที่ลำตัวและแขนขา
- หากทารกมีอาการตัวเหลือง ร่วมกับอาการ ไม่ดูดนม หรือร้องเสียงผิดปกติ ต้องรีบมาพบแพทย์ทันที

วิธีการตรวจวินิจฉัย ภาวะตัวเหลืองในทารก
- การตรวจร่างกาย: แพทย์จะสังเกตสีผิวและตาขาวของทารก
- การตรวจเลือด: วัดระดับบิลิรูบินในกระแสเลือดเพื่อประเมินความรุนแรง และการตรวจหาสาเหตุตัวเหลือง เช่น G6PD , blood group
การรักษา
หากพบทารกมีตัวเหลืองควรมาพบแพทย์ทันที เนื่องจากการรักษานั้นง่ายมาก แต่หากให้การรักษาหรือการดูแลไม่ถูกวิธีอาจทำให้ระดับบิลิรูบิน (Bilirubin)สูงจนเป็นอันตรายต่อสมอง
- การให้นมบ่อยขึ้น: ช่วยกระตุ้นการขับถ่ายบิลิรูบินผ่านอุจจาระ
- การให้ทารกรับแสงส่องไฟรักษา (Phototherapy): ใช้แสงพิเศษช่วยลดระดับบิลิรูบินในเลือด – เพิ่มการขับสารเหลืองออกทางปัสสาวะและอุจจาระ
- ในกรณีที่มีความรุนแรง อาจต้องใช้การเปลี่ยนถ่ายเลือด (Exchange Transfusion) เพื่อลดระดับบิลิรูบิน อย่างรวดเร็วและทันที
- การให้ พิจารราตามคำแนะนำของแพทย์ ในบางกรณีเท่านั้น
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
หากไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม ระดับบิลิรูบินที่สูงเกินไปอาจส่งผลกระทบต่อสมองและระบบประสาทของเด็ก ทำให้เกิดภาวะ Kernicterus ซึ่งเป็นอาการที่ร้ายแรงและส่งผลต่อการพัฒนาการของเด็กหรือเสียชีวิตได้
การป้องกัน ภาวะตัวเหลืองในทารก
- การตรวจคัดกรองภาวะตัวเหลืองก่อนที่ทารกจะกลับบ้าน
- ให้ทารกได้รับนมอย่างเพียงพอ ทั้งนมแม่หรือนมผสม สามารถใช้ได้ทุกชนิด
- การดูแลสุขภาพของแม่ตั้งแต่ก่อนคลอดเพื่อป้องกันโรคที่อาจส่งผลต่อทารก
ภาวะตัวเหลืองในเด็กเป็นอาการที่พบได้บ่อยและมักไม่รุนแรง หากได้รับการวินิจฉัยและการรักษาอย่างเหมาะสม อาการนี้จะสามารถหายได้โดยไม่มีผลกระทบในระยะยาว แต่หากปล่อยไว้โดยไม่ดูแล อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ จึงควรพบแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยและรับคำแนะนำอย่างเหมาะสม
บทความโดยแพทย์หญิงวรรณภา ปูรณวัฒนกุล กุมารเวชกรรมทารกแรกเกิดและปริกำเนิด โรงพยบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
แพ็กเกจแนะนำ
แพ็กเกจ ภูมิคุ้มกันสำเร็จรูป RSV (สำหรับเด็ก)
โปรแกรม ตรวจสุขภาพสตรี 🎀 Healthy Lady
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพประจำปี 2568
กิจกรรมคลอดคุณแม่คุณภาพ ประจำปี 2568
บริการทันตกรรมสิทธิ์ประกันสังคม (ไม่ต้องสำรองจ่าย)
แพ็กเกจ ฝากครรภ์คุณภาพ
บัตรสมาชิก VIP
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Platinum Plus Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Platinum Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Diamond Plus Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Diamond Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Gold Check up 2568
แพ็กเกจตรวจสุขภาพ Silver Check up 2568
แพ็กเกจวัคซีน RSV สำหรับคุณแม่ตั้งครรภ์
แพ็กเกจ วัคซีนปอดอักเสบ IPD 20 สายพันธุ์ (สำหรับเด็ก)
แพ็กเกจ วัคซีนปอดอักเสบ 20 สายพันธุ์ (สำหรับผู้ใหญ่)
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพก่อนอุปสมบท
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันไวรัส RSV สำหรับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
แพ็กเกจ ตรวจการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ 23 สายพันธุ์
แพ็กเกจ ตรวจหัวใจ คนไทยและต่างชาติ
บทความสุขภาพอื่นๆ
ทำความรู้จัก ไข้อีดำอีแดง (Scarlet fever)
โรคไข้เลือดออก เดงกี : อาการ การป้องกัน และวัคซีน
ภาวะมีบุตรยาก : สาเหตุ อาการ และทางเลือกในการรักษา
มะเร็งรังไข่ : การตรวจคัดกรอง การรักษา และการผ่าตัด
นิ่วในถุงน้ำดี : สาเหตุ, อาการ และการรักษา
ปวดท้อง “ผู้หญิง” แบบไหนที่ควรมาพบแพทย์?
พฤติกรรมแบบไหน เสี่ยงโรคไต ?
ภาวะตัวเหลืองในทารก
มะเร็งที่พบบ่อย ในคนไทย
ตรวจสุขภาพประจำปี ดีอย่างไร?
โรต้าไวรัส ภัยร้ายใกล้ตัวเด็กที่ต้องเฝ้าระวัง
กระดูกสันหลังเสื่อม ทรุด ส่งผลร้าย ต่อการดำเนินชีวิต
วัคซีนสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ที่ควรฉีด (ผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีอายุ >65ปีขึ้นไป)
รู้จัก โรค RSV ภัยร้าย ที่ผู้สูงอายุไม่ควรมองข้าม
9 โรค พบบ่อยในผู้สูงอายุ ที่ควรรู้ เพื่อป้องกันไว้ก่อนดีกว่าแก้
“ก้มเล่นมือถือ” เป็นเวลานาน พฤติกรรมเสี่ยง กระดูกคอเสื่อม
โรคไข้หวัดใหญ่ คืออะไร?
การสวนหัวใจ และหลอดเลือด
คลอดธรรมชาติ กับ ผ่าคลอด แบบไหนดีกว่ากัน ?
การตรวจคราบหินปูนในหลอดเลือดหัวใจ คืออะไร ?
VDO ความรู้สุขภาพ
ความแตกต่างของ hMPV และ RSV
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – EP.20 โฟลิก สารอาหารที่สำคัญสำหรับคนท้อง
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.19 อาการปวดหัวช่วงตั้งครรภ์…แก้อย่างไรดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.18 ตั้งครรภ์ 5 สัปดาห์ สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้มั้ย?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.17 ลูกในครรภ์น้ำหนักตกเกณฑ์ กังวลมากเลย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.16 คุณแม่ตั้งครรภ์ท้องผูกมาก แก้ยังไงดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.15 ใครเสี่ยงบ้าง? ภาวะครรภ์เป็นพิษขณะตั้งครรภ์
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.14 ฟิต&เฟิร์ม สไตล์คุณแม่มือใหม่
คำแนะนำสำหรับการให้นมแม่ในทารกที่ได้รับการวินิจฉัย “แพ้” นมวัว
การผ่าตัดส่องกล้องข้อเข่า ข้อไหล่ ดีอย่างไร?
การตรวจวิเคราะห์แรงกดใต้ฝ่าเท้า คืออะไร?
ดูแลลูกอย่างไร? เมื่อเป็นไข้หวัดหน้าร้อน
ฉีดสีท่อนำไข่ แก้ปัญหามีบุตรยาก มีขั้นตอนและการเตรียมตัวอย่างไร?
กระดูกสันหลังเสื่อม-ทรุด ส่งผลร้ายต่อการดำเนินชีวิต
งูสวัด ลดความรุนแรงและโอกาสเกิดซ้ำได้ ด้วยการฉีดวัคซีน
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.13 ไอโอดีน สำคัญกับหญิงตั้งครรภ์อย่างไร?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.12 เครื่องฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ จำเป็นไหม?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.11 วัคซีนก่อนตั้งครรภ์สำคัญไม่น้อย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.10 ตั้งใจมีลูกแฝด ดีหรือไม่?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.9 ทำไมคุณแม่ตั้งครรภ์ถึงชอบท้องผูก
บทความโดย
แพทย์หญิงวรรณภา ปูรณวัฒนกุล
กุมารเวชกรรมทารกแรกเกิดและปริกำเนิด โรงพยบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม/นัดหมาย
แผนกกุมารเวช ชั้น 3
โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
โทร. 02-594-0020 ต่อ 1310 , 1311