โรคกระดูกพรุน เกิดจากโรคที่ ทำให้กระดูกผิดปกติ มาจากแคลเซียมหรือวิตามินดีที่ทำงานได้ลดลง โดยส่วนใหญ่โรคกระดูกพรุนมักจะไม่มีอาการ หากมีอาการปวด มักพบได้บ่อย ในบริเวณ กระดูกสันหลัง , สะโพก , ข้อมือ มักพบได้ในผู้สูงอายุ
สาเหตุของโรคกระดูกพรุน
โรคกระดูกพรุนมีสาเหตุมาจากหลายสาเหตุ ส่วนใหญ่มักจะพบในผู้หญิงสูงวัย เนื่องจาก ฮอร์โมนเพศเริ่มถดถอยลง โดยส่วนใหญ่มักจะพบ ในช่วงหลังหมดประจำเดือน ในผู้ชายจะพบได้น้อยกว่าในผู้หญิง ส่วนใหญ่มักพบในอายุ65 ปีขึ้นไป ยังมีสาเหตุอื่นๆที่ทำให้เป็นโรคกระดูกพรุนได้ เช่นการขาดแคลเซียมหรือวิตามินดี หรือผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่นโรคเบาหวาน ผู้ที่ใช้ยาบางชนิด เช่น ยาสเตียรอยด์ หรือในผู้ป่วยบางรายที่ได้รับการผ่าตัด รังไข่ ทั้งสองข้างและ ได้รับยาเคมีบำบัดบางชนิด ก็สามารถทำให้เกิดโรคกระดูกพรุนได้เช่นเดียวกัน
ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคกระดูกพรุน
มีได้หลายปัจจัย มีสาเหตุมาจากตัวผู้ป่วยเอง เช่น
- การดื่มสุรา หรือ การสูบบุหรี่
- มีโรคประจำตัว เช่น โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ หรือโรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง
- ผู้ที่เคยมีประวัติการผ่าตัดลำไส้ ทำให้มีการดูดซึมวิตามินดีได้ไม่ดีเท่าที่ควร จนทำให้เกิดภาวะกระดูกบางลง
- คนในครอบครัว มีประวัติเป็นโรคกระดูกพรุน เช่นพ่อหรือแม่ที่มี ประวัติโรคกระดูกพรุนมาก่อน ก็สามารถทำให้ตัวผู้ป่วย มีความเสี่ยงเพิ่มมากขึ้นได้เช่นเดียวกัน
ผู้ที่ควรเข้ารับการตรวจมวลกระดูก
- ผู้หญิงไม่มีอาการ อายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป
- ผู้ชายที่ไม่มีอาการ อายุมากกว่า 70 ปีขึ้นไป
- สตรีวัยหมดประจำเดือน
- มีประวัติครอบครัวเป็นโรคกระดูกพรุน
- ขาดวิตามินดีหรือแคลเซียม
- ผู้ที่ใช้ยาสเตียรอยด์ (Steroid) ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน
- ผู้ที่มีมีโรคประจำตัวบางชนิด เช่น โรคเบาหวาน , โรคไทรอยด์
- ผู้ที่มีประวัติเป็นมะเร็งเต้านม และได้รับการผ่าตัด รังไข่ทั้งสองข้าง
ข้อแนะนำสำหรับการปฏิบัติตัวเบื้องต้น ในผู้ป่วยที่มีภาวะโรคกระดูกพรุน
ในผู้ป่วยที่มีภาวะโรคกระดูกพรุน แนะนำ ให้ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ อาจจะเสริมด้วยแคลเซียม หรือวิตามินดี และตรวจหาสาเหตุโรคต่างๆรวมทั้งหาสาเหตุโรคกระดูกพรุนอื่นๆร่วมด้วย
บทความโดย นายแพทย์ศรัณย์ ถวัลยวิชจิต แพทย์ผู้ชำนาญการด้านกระดูกคอ และ กระดูกสันหลัง โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
แพ็กเกจแนะนำ
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันไวรัส RSV สำหรับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
กิจกรรมคลอดคุณแม่คุณภาพ ประจำปี 2567
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพประจำปี 2567
แพ็กเกจ ตรวจหัวใจ คนไทยและต่างชาติ
บริการทันตกรรมสิทธิ์ประกันสังคม (ไม่ต้องสำรองจ่าย)
แพ็กเกจ ตรวจการนอนกรน Sleep Test
แพ็กเกจ ตรวจ อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง Abdomen Ultrasound
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ Birthday Privileges
แพ็กเกจตรวจ Covid-19 และไข้หวัดใหญ่ แบบ RT-PCR
แพ็กเกจ อัลตร้าซาวด์ครรภ์ MFM
แพ็กเกจ ฝากครรภ์คุณภาพ
แพ็กเกจ โปรแกรม ฝังเข็ม ระงับปวด Office Syndrome
แพ็กเกจ ตรวจฟัน เคลือบฟลูออไรด์ สำหรับเด็ก
แพ็กเกจ ฉีดสีท่อนำไข่ Hysterosalpingography
แพ็กเกจ IUI ฉีดน้ำเชื้อเข้าโพรงมดลูก
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนมีบุตร
แพ็กเกจ ตรวจไข้เลือดออก
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยัก
แพ็กเกจ ตรวจมะเร็งเต้านม ด้วย Digital Mammogram
แพ็กเกจ โปรแกรมฝากไข่ Oocyte Freezing
บทความสุขภาพอื่นๆ
กระดูกสันหลังเสื่อมทรุด ส่งผลร้ายต่อกันดำเนินชีวิต
วัคซีนสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ที่ควรฉีด (ผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีอายุ >65ปีขึ้นไป)
รู้จัก โรค RSV ภัยร้าย ที่ผู้สูงอายุไม่ควรมองข้าม
9 โรค พบบ่อยในผู้สูงอายุ ที่ควรรู้ เพื่อป้องกันไว้ก่อนดีกว่าแก้
“ก้มเล่นมือถือ” เป็นเวลานาน พฤติกรรมเสี่ยงกระดูกคอเสื่อม
โรคไข้หวัดใหญ่คืออะไร?
การสวนหัวใจและหลอดเลือด
คลอดธรรมชาติ กับ ผ่าคลอด แบบไหนดีกว่ากัน ?
การตรวจคราบหินปูนในหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery calcium scoring) คืออะไร ?
มวลกระดูกคืออะไร ทำไมต้องตรวจ ?
โรคฝีดาษลิง หรือ Mpox โรคอุบัติใหม่ที่ไม่ควรมองข้าม
ตรวจสุขภาพร่างกายประจำปีสำคัญอย่างไร
พฤติกรรมแบบไหน…เสี่ยง! เป็นโรคตับ
“โรคอ้วนในเด็ก” ความน่ารักที่แฝงด้วยอันตราย‼
มะเร็งปอดใกล้ตัวกว่าที่คิด มาทำความรู้จักกับโรคมะเร็งปอด
ตรวจการนอนหลับ (Sleep Test)
วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ ป้องกันได้มากว่าปอดอักเสบ
การผ่าตัดโดยใช้กล้องส่องข้อเข่า เทคโนโลยีทันสมัย (Arthroscopic Surgery)
แนวทางการรักษาโรคมะเร็งเต้านมในปัจจุบัน
ตรวจสุขภาพร่างกายประจำปีสำคัญอย่างไร
VDO ความรู้สุขภาพ
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.19 อาการปวดหัวช่วงตั้งครรภ์…แก้อย่างไรดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.18 ตั้งครรภ์ 5 สัปดาห์ สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้มั้ย?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.17 ลูกในครรภ์น้ำหนักตกเกณฑ์ กังวลมากเลย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.16 คุณแม่ตั้งครรภ์ท้องผูกมาก แก้ยังไงดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.15 ใครเสี่ยงบ้าง? ภาวะครรภ์เป็นพิษขณะตั้งครรภ์
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.14 ฟิต&เฟิร์ม สไตล์คุณแม่มือใหม่
คำแนะนำสำหรับการให้นมแม่ในทารกที่ได้รับการวินิจฉัย “แพ้” นมวัว
การผ่าตัดส่องกล้องข้อเข่า ข้อไหล่ ดีอย่างไร?
การตรวจวิเคราะห์แรงกดใต้ฝ่าเท้า คืออะไร?
ดูแลลูกอย่างไร? เมื่อเป็นไข้หวัดหน้าร้อน
ฉีดสีท่อนำไข่ แก้ปัญหามีบุตรยาก มีขั้นตอนและการเตรียมตัวอย่างไร?
กระดูกสันหลังเสื่อม-ทรุด ส่งผลร้ายต่อการดำเนินชีวิต
งูสวัด ลดความรุนแรงและโอกาสเกิดซ้ำได้ ด้วยการฉีดวัคซีน
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.13 ไอโอดีน สำคัญกับหญิงตั้งครรภ์อย่างไร?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.12 เครื่องฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ จำเป็นไหม?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.11 วัคซีนก่อนตั้งครรภ์สำคัญไม่น้อย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.10 ตั้งใจมีลูกแฝด ดีหรือไม่?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.9 ทำไมคุณแม่ตั้งครรภ์ถึงชอบท้องผูก
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.8 ท้องแข็งแบบต่างๆแยกแบบใด แบบไหนลูกโก่งตัว แบบไหนมดลูกบีบ แบบไหนใกล้คลอด
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.7 คนท้องนอนท่าไหน ไม่ทับลูกไม่ปวดเอว
บทความโดย
นายแพทย์ ชาญวัฒน์ ชวนตันติกมล
แพทย์ผู้ชำนาญการด้านอายุรกรรมต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิซึม
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม/นัดหมาย
แผนกอายุรกรรม ชั้น 2
โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
โทร.02-594-0020 ต่อ 1276 , 1277