ภาวะโลหิตจางเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยที่พบบ่อยที่สุดคือโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นส่วนประกอบในเซลล์ต่างๆของร่างกาย เราจะได้รับธาตุเหล็กจากอาหารเป็นหลัก โดยอาหารที่พบธาตุเหล็กมาก ได้แก่ เนื้อสัตว์เนื้อแดง เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ นอกจากนี้ ยังพบธาตุเหล็กได้ในผักใบเขียวและธัญพืช แต่ธาตุเหล็กในอาหารประเภทนี้จะถูกดูดซึมได้ไม่ดีเท่าธาตุเหล็กจากอาหารพวกเนื้อสัตว์
สาเหตุ ของการ ขาดธาตุเหล็ก มี 4 สาเหตุหลัก ๆ ได้แก่
- การเสียเลือดเรื้อรังเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด เช่น ประจำเดือนออกมากในหญิงวัยเจริญพันธุ์หรือมีแผลหรือเนื้องอกในทางเดินอาหาร ทำให้เสียเลือด ร่างกายไม่สามารถนำธาตุเหล็กกลับมาใช้ใหม่ได้ จึงเกิดภาวะขาดธาตุเหล็ก
- ร่างกายต้องการเหล็กมากขึ้นพบในหญิงตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร
- ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็กลดลงพบในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของกระเพาะอาหาร ผู้ป่วยที่กินยาซึ่งรบกวนการดูดซึมของธาตุเหล็ก
- ได้รับธาตุเหล็กจากอาหารไม่เพียงพอ พบในเด็กที่ไม่ได้ดื่มนมมารดา หรือผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่ยอมรับประทานอาหาร หรือรับประทานอาหารเองไม่ได้
อาการ
เริ่มแรกภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กอาจน้อยมากจนไม่มีใครสังเกต แต่เมื่อร่างกายขาดธาตุเหล็กและโรคโลหิตจางมากขึ้นอาการและอาการแสดงก็ทวีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งอาการที่อาจเกิดขึ้นได้แก่
- ความเหนื่อยล้า โดยเฉพาะออกแรงแล้วเหนื่อยง่ายกว่าปกติ
- ผิวสีซีด
- ปวดหัวเวียนศีรษะหรือมึนศีรษะ
- บางรายจะมีภาวะแสบลิ้น
- เล็บบางลง หรือเล็บเปราะ
- บางรายจะมี ความอยากกินอาหารที่ผิดปกติ เช่น น้ำแข็ง ฝุ่น หรือแป้ง
- ความอยากอาหารไม่ดีโดยเฉพาะในเด็กทารกและเด็กที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
การวินิจฉัยภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก ประกอบด้วย
- CBC จะพบ Hb < 11 g/dL, Hct < 33%, MCV และ MCH มีค่ำต่ำกว่าเกณฑ์ การดูเสมียร์เลือดจะพบเม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็กติดสีจาง (microcytic, hypochromic)
- Serum iron, Total iron biding capacity (TIBC) และ Transferrin saturation ในภาวะขาดเหล็กจะน้อยกว่า 15%
- Serum ferritin จะมีค่าลดลงในภาวะขาดธาตุเหล็กใช้ค่าที่น้อยกว่า 15 ng/mL
การรักษาโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
เมื่อแพทย์วินิจฉัยพบว่าผู้ป่วยมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก แพทย์อาจแนะนำให้ผู้ป่วยรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กเพื่อเพิ่มระดับธาตุเหล็กในร่างกาย และทำการรักษาภาวะหรือโรคต่าง ๆ ที่อาจเป็นสาเหตุให้เกิดภาวะขาดธาตุเหล็กอื่นๆเพิ่มด้วย
บทความโดย แพทย์หญิงธาริณี รุ่งจิรจิตรานนท์ อาจารย์แพทย์ด้านโลหิตวิทยา แผนกอายุรแพทย์โรคเลือด โรงพยบาลเกษมราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
แพ็กเกจแนะนำ
Healthy Year End 2024″มอบสุขภาพภาพที่ดี…เป็นของขวัญให้ตัวเองและคนที่คุณรัก”
แพ็กเกจ วัคซีนป้องกันไวรัส RSV สำหรับผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป
กิจกรรมคลอดคุณแม่คุณภาพ ประจำปี 2567
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพประจำปี 2567
แพ็กเกจ ตรวจหัวใจ คนไทยและต่างชาติ
บริการทันตกรรมสิทธิ์ประกันสังคม (ไม่ต้องสำรองจ่าย)
แพ็กเกจ ตรวจการนอนกรน Sleep Test
แพ็กเกจ ตรวจ อัลตร้าซาวด์ช่องท้อง Abdomen Ultrasound
แพ็กเกจ ตรวจระดับวิตามิน แร่ธาตุ และสารต้านอนุมูลอิสระ
แพ็กเกจ ตรวจระดับวิตามิน D
แพ็กเกจ ตรวจสุขภาพ Birthday Privileges
แพ็กเกจตรวจ Covid-19 และไข้หวัดใหญ่ แบบ RT-PCR
แพ็กเกจ อัลตร้าซาวด์ครรภ์ MFM
แพ็กเกจ ฝากครรภ์คุณภาพ
แพ็กเกจ โปรแกรม ฝังเข็ม ระงับปวด Office Syndrome
แพ็กเกจ ตรวจฟัน เคลือบฟลูออไรด์ สำหรับเด็ก
แพ็กเกจ ตรวจคัดกรองท้องร่วง 24 สายพันธุ์
แพ็กเกจ ลดอาการปวดด้วยพลาสมาเกล็ดเลือด PRP
แพ็กเกจ ตรวจหัวใจ CTA Coronary Artery
แพ็กเกจ ตรวจสมองและระบบประสาท CT Brain Screening
บทความสุขภาพอื่นๆ
การ ตรวจสุขภาพประจำปี ดีอย่างไร?
โรต้าไวรัส ภัยร้ายใกล้ตัวเด็กที่ต้องเฝ้าระวัง
กระดูกสันหลังเสื่อมทรุด ส่งผลร้ายต่อกันดำเนินชีวิต
วัคซีนสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ที่ควรฉีด (ผู้สูงอายุคือบุคคลที่มีอายุ >65ปีขึ้นไป)
รู้จัก โรค RSV ภัยร้าย ที่ผู้สูงอายุไม่ควรมองข้าม
9 โรค พบบ่อยในผู้สูงอายุ ที่ควรรู้ เพื่อป้องกันไว้ก่อนดีกว่าแก้
“ก้มเล่นมือถือ” เป็นเวลานาน พฤติกรรมเสี่ยงกระดูกคอเสื่อม
โรคไข้หวัดใหญ่คืออะไร?
การสวนหัวใจและหลอดเลือด
คลอดธรรมชาติ กับ ผ่าคลอด แบบไหนดีกว่ากัน ?
การตรวจคราบหินปูนในหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery calcium scoring) คืออะไร ?
มวลกระดูกคืออะไร ทำไมต้องตรวจ ?
โรคฝีดาษลิง หรือ Mpox โรคอุบัติใหม่ที่ไม่ควรมองข้าม
ตรวจสุขภาพร่างกายประจำปีสำคัญอย่างไร
พฤติกรรมแบบไหน…เสี่ยง! เป็นโรคตับ
“โรคอ้วนในเด็ก” ความน่ารักที่แฝงด้วยอันตราย‼
มะเร็งปอดใกล้ตัวกว่าที่คิด มาทำความรู้จักกับโรคมะเร็งปอด
ตรวจการนอนหลับ (Sleep Test)
วัคซีนป้องกันโรคปอดอักเสบ ป้องกันได้มากว่าปอดอักเสบ
การผ่าตัดโดยใช้กล้องส่องข้อเข่า เทคโนโลยีทันสมัย (Arthroscopic Surgery)
VDO ความรู้สุขภาพ
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.19 อาการปวดหัวช่วงตั้งครรภ์…แก้อย่างไรดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.18 ตั้งครรภ์ 5 สัปดาห์ สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้มั้ย?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.17 ลูกในครรภ์น้ำหนักตกเกณฑ์ กังวลมากเลย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.16 คุณแม่ตั้งครรภ์ท้องผูกมาก แก้ยังไงดี?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.15 ใครเสี่ยงบ้าง? ภาวะครรภ์เป็นพิษขณะตั้งครรภ์
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.14 ฟิต&เฟิร์ม สไตล์คุณแม่มือใหม่
คำแนะนำสำหรับการให้นมแม่ในทารกที่ได้รับการวินิจฉัย “แพ้” นมวัว
การผ่าตัดส่องกล้องข้อเข่า ข้อไหล่ ดีอย่างไร?
การตรวจวิเคราะห์แรงกดใต้ฝ่าเท้า คืออะไร?
ดูแลลูกอย่างไร? เมื่อเป็นไข้หวัดหน้าร้อน
ฉีดสีท่อนำไข่ แก้ปัญหามีบุตรยาก มีขั้นตอนและการเตรียมตัวอย่างไร?
กระดูกสันหลังเสื่อม-ทรุด ส่งผลร้ายต่อการดำเนินชีวิต
งูสวัด ลดความรุนแรงและโอกาสเกิดซ้ำได้ ด้วยการฉีดวัคซีน
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.13 ไอโอดีน สำคัญกับหญิงตั้งครรภ์อย่างไร?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.12 เครื่องฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ จำเป็นไหม?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.11 วัคซีนก่อนตั้งครรภ์สำคัญไม่น้อย
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.10 ตั้งใจมีลูกแฝด ดีหรือไม่?
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.9 ทำไมคุณแม่ตั้งครรภ์ถึงชอบท้องผูก
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.8 ท้องแข็งแบบต่างๆแยกแบบใด แบบไหนลูกโก่งตัว แบบไหนมดลูกบีบ แบบไหนใกล้คลอด
ว่าที่คุณแม่มือใหม่ – Ep.7 คนท้องนอนท่าไหน ไม่ทับลูกไม่ปวดเอว
บทความโดย
แพทย์หญิง ธาริณี รุ่งจิรจิตรานนท์
อาจารย์แพทย์ ด้านโลหิตวิทยา แผนกอายุรแพทย์โรคเลือด
ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม/นัดหมาย
แผนกอารุยกรรม ชั้น 2
โรงพยบาลเกษมราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล รัตนาธิเบศร์
โทร. 02-594-0020 ต่อ 1219 , 1220